สารพิษโลหะหนัก คือ โลหะหนักที่มีความหนาแน่นเกินกว่า 5 กรัม มักจะถูกนํามาใช้Aเป็นส่วนผสมในกระบวนการผลิตหรือผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรมต่างๆ สิ่งของเครื่องใช้Aในชีวิตประจําวัน เครื่องสําอาง ยารักษาโรค น้ําดื่ม หรือ อาหารที่รับประทานในชีวิตประจําวันสารเหล่านี้อาจก่อให้Aกิดอันตรายเมื่อไดAรับการสัมผัสทางผิวหนัง การหายใจ หรือรับประทานติดต่อกันเป็นเวลานาน หากได้Aรับในปริมาณที่สูงอาจทําใหAเกิดพิษสะสมต่อร่างกายได้ A
สารบัญ
สารพิษโลหะหนักใกล้ตัว มีอะไรบ้าง?
สารแคดเมียม (cadmium)
สารตะกั่ว (Lead)
สารปรอท (Mercury)
สารอารเซนิก(Arsenic)
สารอะลูมินัม (Aluminum)
ผลร้ายจากโลหะหนักในหลอดเลือด
เมื่อมีการสะสมของสารพิษโลหะหนักบนเซลล์บุภายในผนังหลอดเลือด จะส8งผลใหAเกิดการสร้างอนุมูลอิสระ เพิ่มมากขึ้นบนผนังเซลล์ และไปเร่งกระบวนการอักเสบต่างๆ ทําให้Aการทํางานของเซลล์บริเวณผนังหลอดเลือด ผิดปกติ หลังจากนั้นไขมันคอเรสเตอรอล LDL ที่ลอยอยู่ในหลอดเลือดจะเริ่มจับบนผนังหลอดเลือด ทําให้รูหลอด เลือดตีบแคบลง ซึ่งกระบวนการเหล่านี้อาจส่งผลให้Aเกิดโรคเรื้อรังต่างๆตามมา อันได้แก่
ความดัน
ความผิดปกติของหลอดเลือดหัวใจ
เบาหวาน
โรคมะเร็ง
ภูมิแพ้
โรคความเสื่อม ฯลฯ
อาการที่เกิดขึ้นหากได้รับสารพิษโลหะหนัก
- อาการอ่อนเพลีย
ง่วงนอน สมาธิสั้น ความจำไม่ดี เนื่องจากเซลล์เกิดความเสื่อมสภาพเฉพาะเซลล์สมอง
- ปวดศีรษะบ่อย
หงุดหงิดปวดเมื่อยหลังไหล่และคอเนื่องจากสารพิษโลหะหนักสะสม ตามชั้นกล้ามเนื้อทําให้อวัยวะต่างๆ ไม่สามารถทํางานได้ตามปกติ
- หน้าตาหมองคล้ํา
ผิวพรรณหยาบกร้านภูมิแพ้โรคผิวหนังเรื้อรังมีผื่นคันตามตัว เป็นแผลและเป็นฝีบ่อยๆ เนื่องจากเซลล์เกิดความเสื่อมสภาพ ทําให้การไหลเวียนของเลือดไม่ดี
ขั้นตอนการทําคีเลชั่นบําบัด
- คนไข้รับคําปรึกษาจากแพทยผู้เชี่ยวชาญ
- ตรวจร่างกายเจาะเลือดเพื่อประเมินเบื้องต้น
- ตรวจดูสารพิษโลหะหนักสะสมในเลือดปัสสาวะหรือจากเส้นผม
- ตรวจการทํางานของไตเพื่อประสิทธิภาพในหารกําจัดโลหะหนัก
- เมื่อแพทย์วินิจฉัยแล้วจะทําการรักษาโดยความถี่ของการทํา Chelation ขึ้นอยู่กับอาการของคนไข้และความสามารถของไต ซึ่งบางรายสามารถทําได้ตั้งแต่วันเว้นวัน จนถึงอาทิตย์ละครั้ง เป็นต้น
ข้อห้ามและข้อควรระวัง
• ห้ามใช้ EDTA กับผู้ป่วยที่มีอาการแพ้รุนแรงและควบคุมต่อ EDTA ไม่ได้
• ผู้ที่ฟอกไต ผู้ป่วยไตบกพร่องมีค่า CreatinineClearance ต่ํากว่าค่ามาตรฐาน 0.5-1.0mg/DL
• ผู้ป่วยที่กําลังตั้งครรภ์
• ผู้ที่เป็นโรคตับ
• ผู้ที่ใช้ยาชนิด anticoagulation
• ผู้ป่วยมีประวัติภาวะหัวใจล้มเหลว (congestiveheartfailure)
• ผู้ที่มีอาการสมองผิดปกติจากตะกั่วเฉียบพลัน